โครงงาน ป. 2
เรื่อง การอ่านคำยากจากบทเรียน
ผู้จัดทำ…….
1………………………………….
2………………………………….
3………………………………….
4. ………………………………..
5………………………………….
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
2
อาจารย์ที่ปรึกษา….
1………………………………….
2…………………………………
โรงเรียน……………………………………..
อำเภอ………………จังหวัด……………………….
สังกัด……………………………………………….
รายงานนี้เป็นส่วนประกอบโครงงานวิชาภาษาไทย
บทคัดย่อ
การอ่านเป็นทักษะที่ช่วยให้เราได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสาร การพัฒนาตนเองด้านความรู้และการทำงานด้วยการเลือกอ่านหนังสือ ปัญหาการอ่านคำยากไม่ออก ไม่สามารถสะกดคำได้ถูกต้อง
ซึ่งเกิดกับผู้เรียนหลายคน คณะ
ผู้จัดทำจึงสนใจที่จะศึกษา
เรื่องการอ่านคำยากจากบทเรียน
เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาการอ่านดังกล่าว
โดยวิธีการฝึกการอ่านและเขียนคำยากบ่อย ๆ
ให้เกิดความมั่นใจ และเปล่งเสียงออกมาได้ถูกต้อง ชัดเจน
กิตติกรรมประกาศ
การจัดทำโครงงานเรื่อง การอ่านคำยากจากบทเรียนครั้งนี้ ประสบผลสำเร็จได้เป็นอย่างดี เนื่องจากได้รับคำปรึกษา
ชี้แนะจากคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและคณะครูในโรงเรียน
ทุกท่าน รวมทั้งการได้รับคำแนะนำจากผู้รู้ ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือ
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ หน้า
บทที่ 1 บทนำ 5
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 6
บทที่ 3 วิธีการศึกษา 7
บทที่ 4 ผลการศึกษา 8
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล 12
เอกสารอ้างอิง 12
บทที่ 1
บทนำ
หลักการและเหตุผล
การอ่านเป็นการสื่อสารที่มีความสำคัญ
เพราะเป็นการถ่ายทอดความรู้สึกความคิดของผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสาร ผู้ที่อ่านได้ถูกต้อง ต้องรู้หลักการอ่าน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อรวบรวมคำยากจากบทเรียน
และฝึกทักษะด้านการเขียนและการอ่านคำยากจากบทเรียน
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บทที่ 3
วิธีการศึกษา
1.
เสนอหัวข้อโครงงาน
2.
ศึกษาเอกสารและแบ่งหน้าที่ค้นคว้า
3.
รวบรวมข้อมูล
4.
เขียนรายงานผลการศึกษา นำเสนอผลงาน
5.
นำเสนอโครงงาน
บทที่ 4
ผลการศึกษา
การรวบรวมคำยากจากบทเรียน ได้ดังนี้
บทที่ 1 เรื่อง โรงเรียนต้นไม้
1.
ซาบซึ้ง
2.
ครื้นเครง
3.
น้อมไหว้
4.
ขวัญ
5.
หลายหลาก
บทที่ 2 เรื่อง ภาษาไทยร่ายรำ
1
กระซิบ
2
พราวพร่าง
3
สนุกสนาน
4
เมฆ
5
สำราญ
บทที่ 3 เรื่อง ลำนำคุณตา
1
อากาศ
2
แคร่ไม้
3
ขนุน
4
กะพริบ
5
หลงใหล
บทที่ 4. เรื่อง ศาลาเรื่องเล่า
1 กรุ่น
2
แลกเปลี่ยน
3
กระตือรือร้น
4
ตลาด
5
กลับกลาย
บทที่ 5 เรื่อง พวกเรารักแม่น้ำ
1
กระเพื่อม
2
ก้อนกรวด
3
ประโยชน์
4
หลั่งไหล
5
ธรรมชาติ
บทที่ 6. เรื่อง เพลงธรรมชาติ
1 โพรง
2
นกเงือก
3
สบาย
4 โทรทัศน์
5. กาเหว่า
บทที่ 7. เรื่อง ตลาดหนูเอง
1
สารพิษ
2
มิตรญาติ
3
หยวกกล้วย
4
เฉพาะ
5
คุณค่า
บทที่ 8. เรื่อง คนเก่ง..คึกคัก
1
ปล้ำปลุก
2
เหงื่อไหล
3
ระเกะระกะ
4. แปลงเพาะ
5. เกรี้ยวกราด
6.
ฟ้าคลั่ง
7.
กระทุ้ง
8.
เสร็จ
9.
วิ่งพรู
10.
ภาคภูมิใจ
บทที่ 9 เรื่อง ตะวันพัก จันทร์ผ่อง
1. กาพย์
2. วรรคหน้า
3 จังหวะ
4. สิ้นสลาย
5. สว่างนวล
6. เยี่ยมยอด
7. ตะเกียกตะกาย
8. ดวงจันทร์
9. ระยิบระยับ
10. คำกลอน
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา
คำยากที่ได้จากบทเรียนสรุปได้ดังนี้
เรื่อง จำนวน
เรื่องที่ 1 โรงเรียนต้นไม้
5 คำ
เรื่องที่ 2 ภาษาไทยร่ายรำ 5 คำ
เรื่องที่ 3 ลำนำคุณตา 5 คำ
เรื่องที่ 4 ศาลาเล่าเรื่อง 5 คำ
เรื่องที่ 5 พวกเรารักแม่น้ำ 5 คำ
เรื่องที่ 6 เพลงธรรมชาติ
5 คำ
เรื่องที่ 7 ตลาดของหนูเอง
5 คำ
เรื่องที่ 8 คนเก่ง..คึกคัก
10 คำ
เรื่องที่ 9 ตะวันพัก จันทร์ผ่อง 10
คำ
อภิปรายผล
1.
ควรจัดทำโครงงานที่เกี่ยวกับคำยากจากวิชาอื่น
ๆ
2.
ควรศึกษาคำอ่าน คำต่าง ๆ
จากบทเรียนอื่น ๆ
ประโยชน์ที่ได้รับ
1.
ฝึกทักษะด้านภาษา
2.
สามารถอ่านคำยากได้ถูกต้องมากขึ้น
3. มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านคำยากในบทเรียนมากขึ้น
4. ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว กรุงเทพ
โครงงาน ป. 2
เรื่อง สำรวจพืชผักกินได้ในโรงเรียน
ผู้จัดทำ…….
1………………………………….
2………………………………….
3………………………………….
4. ………………………………..
5………………………………….
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
2
อาจารย์ที่ปรึกษา….
1………………………………….
2…………………………………
โรงเรียน……………………………………..
อำเภอ………………จังหวัด……………………….
สังกัด……………………………………………….
รายงานนี้เป็นส่วนประกอบโครงงานวิชาภาษาไทย
บทคัดย่อ
โครงงานสำรวจพืชผักกินได้ในโรงเรียน มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อสำรวจพืชผักที่กินได้ที่มีอยู่ในบริเวณโรงเรียน ว่ามีพืชชนิดใดบ้าง และส่วนใดของพืชที่รับประทานได้ จากการสำรวจพบว่า มีพืชที่กินได้หลายชนิด เช่น ต้นตะไคร้ , ต้นขี้เหล็ก , ต้นชะพลู , มะกรูด , มะยม , กะเพรา , มะขาม,
มะม่วง ฯลฯ
ซึ่งพืชแต่ละชนิดมีประโยชน์เป็นอาหารของคนได้
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานสำรวจพืชผักกินได้ที่อยู่ในโรงเรียน ครั้งนี้
สำเร็จลุล่วงด้วยดี
เนื่องจากได้รับความช่วยเหลือแนะนำจากคุณครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง และคณะครูในโรงเรียนทุกท่าน คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ
ที่นี้
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนำ 18
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 19
บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 20
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 21
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 22
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
ข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างอิง
บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
พืชหรือต้นไม้มีประโยชน์ต่อมนุษย์มาก ทั้งในด้านการเป็นอาหาร ใช้ก่อสร้างบ้าน ทำเชื้อเพลิง
ทำเฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ
ต้นไม้บางชนิดมีสีสรรสวยงาม
บางต้นออกดอกสวยงาม
บางชนิดดอกมีกลิ่นหอม
ภายในบริเวณโรงเรียนของเรามีต้นไม้หลายชนิด
คณะผู้จัดทำจึงสนใจที่จะศึกษาสำรวจชนิดของพืชผักที่กินได้ในบริเวณโรงเรียน
โดยได้แบ่งหน้าที่มอบหมายกันในกลุ่มออกสำรวจ หรือสอบถามผู้รู้และรวบรวมข้อมูล
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
1.
เพื่อสำรวจพืชผักกินได้ที่อยู่ในโรงเรียน
2.
สามารถระบุส่วนของพืชที่นำมารับประทานได้
ขอบเขตในการศึกษา
สถานที่ในการทดลอง
คือ บริเวณโรงเรียน
การสำรวจในครั้งนี้
จะสำรวจชนิดหรือชื่อของพืชที่รับประทานได้
และส่วนของพืชที่นำมารับประมานได้ที่อยู่ในบริเวณโรงเรียน
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
หนังสือพืชสมุนไพร เอกสาร
วารสารการเษตร
บทที่ 3
วิธีดำเนินการ
วิธีดำเนินการ
1.
ประชุมกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม กรรมการ และเลขานุการกลุ่ม
2.
แบ่งหน้าที่มอบหมายงานกันภายในกลุ่ม
3.
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันสำรวจพืชผักกินได้ที่อยู่ในโรงเรียน
โดยบันทึกชื่อพืชแต่ละชนิด
ส่วนที่นำมารับประทานได้ บันทึกลงตารางบันทึกผล
4.
รวบรวมข้อมูลและแยกประเภท
5.
สรุปผลการสำรวจ บันทึกผล
6.
วาดภาพ พร้อมกับเขียนชื่อต้นไม้ที่กินได้ ลงในกระดาษ A 4
ระบายสีสวยงาม
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการสำรวจพืชผักกินได้ที่อยู่ในโรงเรียน
ลำดับที่
|
ชื่อพืช
|
ส่วนของพืชที่กินได้
|
1
|
ต้นตำลึง
|
ใบ , ลำต้น ,ยอด
|
2
|
ต้นตะไคร้
|
ลำต้น
|
3
|
ต้นขนุน
|
ผล ,เมล็ด
|
4
|
ต้นมะม่วง
|
ผล
|
5
|
ต้นมะขาม
|
ผล , ใบ ,เมล็ด
|
6
|
ต้นมะยม
|
ผล ,ใบ
|
7
|
ต้นกระถิน
|
ผล , ใบ
|
8
|
ต้นผักบุ้ง
|
ยอด , ใบ
|
9
|
ต้นชะพลู
|
ใบ
|
10
|
ต้นขี้เหล็ก
|
ใบ , ดอก
|
บทที่ 5
ผลการทดลอง
ผลการสำรวจพืชผักกินได้ที่อยู่ในโรงเรียน สรุปได้ดังนี้
ชื่อพืช
|
ส่วนที่นำมากินได้
|
ต้นตำลึง
|
ใบ , ลำต้น ,ยอด
|
ต้นตะไคร้
|
ลำต้น
|
ต้นขนุน
|
ผล ,เมล็ด
|
ต้นมะม่วง
|
ผล
|
ต้นมะขาม
|
ผล , ใบ ,เมล็ด
|
ต้นมะยม
|
ผล ,ใบ
|
ต้นกระถิน
|
ผล , ใบ
|
ต้นผักบุ้ง
|
ยอด , ใบ
|
ต้นชะพลู
|
ใบ
|
ต้นขี้เหล็ก
|
ใบ , ดอก
|
ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน
1.
ได้สำรวจชนิดของพืชผักกินได้ที่มีอยู่ในโรงเรียน
และประโยชน์ที่ได้
2.
ได้ฝึกทักษะการสังเกต การวิเคราะห์ผล การจำแนกและการสรุปผล
ข้อเสนอแนะ
1.
ควรสำรวจพืชผักที่กินได้
ที่มีในหมู่บ้าน ชุมชน ท้องถิ่นเพิ่มเติม
2.
ควรสังเกตลักษณะอื่น ๆ ของพืชด้วย
เอกสารอ้างอิง
นิจศิริ เรืองรังสี
:
พะยอม ตันติวัฒน์ พืชสมุนไพร
พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.
2534
…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
(เอกสาร วารสาร
หนังสือที่เกี่ยวกับการเกษตร หรือต้นไม้ ที่ค้นคว้าได้)
ภาคผนวก
-
ภาพวาดต้นไม้กินได้ในโรงเรียน
ที่เป็นผลงาน ของนักเรียน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น