โครงงาน
ระดับปฐมวัย
ชั้นปีที่
.....................
โรงเรียน
........................................
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
.......................... เขต ………….
ในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย
ชื่อโครงงาน คุณค่าของถั่วงอก
ผู้ทำโครงงาน
นักเรียนชั้นอนุบาล
…………………..
จำนวน …………….. คน
โรงเรียน………………………….
ปีการศึกษา ……………………..
ครูที่ปรึกษา ………………
บทคัดย่อ
การปลูกถั่วงอก มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนชั้นอนุบาล นักเรียนเกิดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงได้รับการพัฒนา
จากการทำโครงการปลูกถั่วงอก เป็นการเตรียมความพร้อมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เช่น ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ
สังคมและสติปัญญา ปลูกฝังให้นักเรียนได้เรียนรู้
การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ส่งเสริมทักษะในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ประสานสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครอง
โรงเรียน และชุมชน
เพื่อให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กร่วมกัน
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณ
คุณครู
ผู้ปกครอง ผู้รู้ทุกท่าน
ที่ให้ข้อมูลความรู้แก่เด็กๆ และขอขอบคุณที่ให้ความกรุณาให้คำแนะนำ คำปรึกษา
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ถั่วงอกทุกคนคงรู้จักเพราะเป็นพืชที่เพาะง่าย
สามารถทำเป็นอาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวได้ดี
บางคนยึดเป็นอาชีพหลักก็มี
ปัจจุบันการเพาะถั่วงอกได้มีการพัฒนาวิธีการทำเพื่อให้ได้ถั่วงอกที่ดี มีคุณภาพ
สะอาดปราศจากสารเจือปน มีความอวบ สวย มากยิ่งขึ้น แต่บางครั้งมีการใส่สารเพื่อให้ถั่วงอกสดอยู่ได้หลายวันมากยิ่งขึ้นเมื่อ
เก็บเกี่ยวแล้ว ทำให้เกิดอันตรายสำหรับผู้ที่ซื้อถั่วงอกไปรับประทาน
และยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายสามารถอยู่อย่างพอเพียงตามแนวพระราชดำริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอีกด้วย
ศูนย์ปฐมวัยโรงเรียน...............................เห็นความสำคัญของตัวเด็ก จึงทำการปลูกถั่วงอก ขึ้นจากการแสดงความคิดเห็นของนักเรียน ครูมีบทบาทในการจัดประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม
เพื่อช่วยให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยใช้ทฤษฎีการเรียนการสอน กล่าวว่า
นักเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติที่หลากหลาย ได้สัมผัส ครูคอยจัดสิ่งแวดล้อม และเตรียมอุปกรณ์ไว้ ครูและนักเรียนมี
ปฏิสัมพันธ์กัน
และครูกับผู้ปกครองมีสัมพันธ์ที่ดี
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนา จากการทำโครงการปลูกถั่วงอก เป็นการเตรียมความพร้อมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เช่น ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา
2. ปลูกฝังให้นักเรียนได้เรียนรู้ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งเสริมทักษะในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
3. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง
4. เพื่อให้นักเรียนรับประทานผัก(ถั่วงอกที่ตนปลูก)
1. เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนา จากการทำโครงการปลูกถั่วงอก เป็นการเตรียมความพร้อมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เช่น ด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา
2. ปลูกฝังให้นักเรียนได้เรียนรู้ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งเสริมทักษะในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
3. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง
4. เพื่อให้นักเรียนรับประทานผัก(ถั่วงอกที่ตนปลูก)
5.ประสานสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครอง โรงเรียน และชุมชน เพื่อให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กร่วมกัน
วิธีดำเนินงาน
1.
ให้นักเรียนนำกระดาษทิชชู ถ้วยพลาสติกจากบ้าน
2. ครูนำถั่วเขียวที่เตรียมไว้ใส่กะละมังแล้วให้เด็กสัมผัส พร้อมตั้งคำถามให้เด็กหาคำตอบด้วยตนเอง
- เด็กๆ จับถั่วเขียวแล้วรู้สึกอย่างไร
- ทำไมต้องแช่ถั่วเขียวในน้ำ
3. นำน้ำอุ่นเทใส่กะละมังถั่วเขียวให้ท่วม แช่ทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง
4. เมื่อครบ 1 ชั่วโมงแล้วให้เด็กๆ ลองสัมผัสถั่วเขียวที่แช่น้ำ พร้อมตั้งคำถามให้เด็กตอบ ให้เด็กหาคำตอบด้วยตนเอง
2. ครูนำถั่วเขียวที่เตรียมไว้ใส่กะละมังแล้วให้เด็กสัมผัส พร้อมตั้งคำถามให้เด็กหาคำตอบด้วยตนเอง
- เด็กๆ จับถั่วเขียวแล้วรู้สึกอย่างไร
- ทำไมต้องแช่ถั่วเขียวในน้ำ
3. นำน้ำอุ่นเทใส่กะละมังถั่วเขียวให้ท่วม แช่ทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง
4. เมื่อครบ 1 ชั่วโมงแล้วให้เด็กๆ ลองสัมผัสถั่วเขียวที่แช่น้ำ พร้อมตั้งคำถามให้เด็กตอบ ให้เด็กหาคำตอบด้วยตนเอง
- เด็กจับถั่วเขียวแล้วรู้สึกอย่างไร
- ถั่วเขียวที่แช่น้ำมีลักษณะอย่างไร
5. ครูสาธิตการปลูกถั่วเขียว โดยนำกระดาษทิชชู่วางบนจาน หรือถ้วย 2 - 3 ชั้น แล้วพรมน้ำให้กระดาษทิชชู่เปียก แล้วนำถั่วเขียวที่แช่น้ำไว้โรยบนกระดาษทิชชู่ที่เปียกให้กระจายๆกัน จากนั้นนำกระดาษทิชชู ปิดทับ 3 – 4 ชั้นแล้วพรมน้ำกระดาษทิชชู่ ให้ชุ่ม เป็นอันเสร็จ
6. เด็กทุกคนทดลองปลูกด้วยตนเองตามวิธีการที่ครูได้สาธิต ครูคอยดูแลและให้คำแนะนำ แต่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
7. เมื่อเด็กทุกคนปลูกถั่วเขียวครบแล้ว ให้นำไปวางเรียงบนหลังตู้ จากนั้นเด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันโดยให้เด็กช่วยกันคิดวิธีการดูแลรักษา ถั่วเขียว
- ทำอย่างไรถั่วเขียวจะเจริญเติบโต
- ในห้องเรียนเรามีหนูเราจะป้องกันไม่ให้หนูมากัดกินถั่วเขียวได้อย่างไร
8. ครูให้นักเรียนช่วยกันสังเกตการเจริญเติบโต ครูสังเกตความสนใจ และบันทึกคำพูดเด็ก
9. เมื่อถั่วเขียวกลายเป็นถั่วงอกที่โตเต็มที่ ให้เด็กๆ เก็บถั่วงอกของตนเอง โดยลอกเปลือกสีเขียวออก เด็ดรากออก ใส่ถังล้างน้ำให้สะอาด นำไปรับประทานเป็นอาหารได้
- ถั่วเขียวที่แช่น้ำมีลักษณะอย่างไร
5. ครูสาธิตการปลูกถั่วเขียว โดยนำกระดาษทิชชู่วางบนจาน หรือถ้วย 2 - 3 ชั้น แล้วพรมน้ำให้กระดาษทิชชู่เปียก แล้วนำถั่วเขียวที่แช่น้ำไว้โรยบนกระดาษทิชชู่ที่เปียกให้กระจายๆกัน จากนั้นนำกระดาษทิชชู ปิดทับ 3 – 4 ชั้นแล้วพรมน้ำกระดาษทิชชู่ ให้ชุ่ม เป็นอันเสร็จ
6. เด็กทุกคนทดลองปลูกด้วยตนเองตามวิธีการที่ครูได้สาธิต ครูคอยดูแลและให้คำแนะนำ แต่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
7. เมื่อเด็กทุกคนปลูกถั่วเขียวครบแล้ว ให้นำไปวางเรียงบนหลังตู้ จากนั้นเด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันโดยให้เด็กช่วยกันคิดวิธีการดูแลรักษา ถั่วเขียว
- ทำอย่างไรถั่วเขียวจะเจริญเติบโต
- ในห้องเรียนเรามีหนูเราจะป้องกันไม่ให้หนูมากัดกินถั่วเขียวได้อย่างไร
8. ครูให้นักเรียนช่วยกันสังเกตการเจริญเติบโต ครูสังเกตความสนใจ และบันทึกคำพูดเด็ก
9. เมื่อถั่วเขียวกลายเป็นถั่วงอกที่โตเต็มที่ ให้เด็กๆ เก็บถั่วงอกของตนเอง โดยลอกเปลือกสีเขียวออก เด็ดรากออก ใส่ถังล้างน้ำให้สะอาด นำไปรับประทานเป็นอาหารได้
สรุปผล
เด็กและครูร่วมกันสรุปการทดลองการปลูกถั่วงอก
พบว่า ก่อนปลูก ถั่วเขียวมีลักษณะแข็ง
ควรนำเม็ดถั่วเขียวแช่น้ำอุ่นเพื่อให้เม็ดถั่วเขียวอ่อนเปลือกนิ่ม
ช่วยให้รากออกเร็ว การปลูกโดยใช้กระดาษทิชชู่เพราะกระดาษทิชชู่อมน้ำ ถั่วเขียวจะได้รับความชุ่มชื้นช่วยให้การเจริญเติบโตเป็นถั่วงอกเร็วขึ้น
ถั่วงอกใช้การเจริญเติบโตประมาณ 7 วัน
ในขณะที่ถั่วงอกกำลังเจริญเติบโต
ไม่ควรรบกวนจับเม็ดถั่วเขียวเล่นหรือฉีกกระดาษทิชชู่ออก ควรปล่อยให้เติบโตตามธรรมชาติ
ประโยชน์ที่ได้รับ
1
.พัฒนาการทางด้านร่างกาย เด็กได้เคลื่อนไหว ประกอบเพลง “มากินผัก” เด็กเล่นเกม “หยิบของเล่นใส่ตะกร้า”
2. พัฒนาการด้านจิตใจ เด็กมีความใจเย็น รู้จักการรอคอยการเจริญเติบโตของถั่วงอก เอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
3 .พัฒนาการด้านสังคม เด็กรู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การปรับตัวอยู่ร่วมกันในสังคม และการช่วยกับเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
4 .พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กรู้จักการสังเกต การสัมผัส การทดลองวางแผนการทำงานก่อนลงมือปฏิบัติจริง และการดูแลเอาใจใส่ในงานจนเกิดผลสำเร็จ
2. พัฒนาการด้านจิตใจ เด็กมีความใจเย็น รู้จักการรอคอยการเจริญเติบโตของถั่วงอก เอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
3 .พัฒนาการด้านสังคม เด็กรู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การปรับตัวอยู่ร่วมกันในสังคม และการช่วยกับเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
4 .พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กรู้จักการสังเกต การสัมผัส การทดลองวางแผนการทำงานก่อนลงมือปฏิบัติจริง และการดูแลเอาใจใส่ในงานจนเกิดผลสำเร็จ
5.
เด็กเกิดความภาคภูมิใจในผลงานอย่างมาก
สังเกตการเจริญเติบโตของถั่วงอกของตนเองทุกวัน และยังคอยสอบถาม
สังเกตการเจริญเติบโตของถั่วงอกของเพื่อน
รู้จักการเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างถั่วงอกของตนเองและของเพื่อน
6. เด็กๆ อยากชิมถั่วงอกของตนเอง จากการสอบถามความรู้สึกของเด็กๆ ต่อถั่วงอกของตนเอง ทำให้ทราบว่าอยากจะลองรับประทานถั่วงอกของตนเองที่ปลูก และอยากชิมถั่วงอกของเพื่อนด้วย
6. เด็กๆ อยากชิมถั่วงอกของตนเอง จากการสอบถามความรู้สึกของเด็กๆ ต่อถั่วงอกของตนเอง ทำให้ทราบว่าอยากจะลองรับประทานถั่วงอกของตนเองที่ปลูก และอยากชิมถั่วงอกของเพื่อนด้วย
ภาคผนวก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น